วิศวกรรมธรณีเทคนิค หรือ วิศวกรรมปฐพี เป็นสาขาหลักสาขาหนึ่งของวิศวกรรมโยธาที่ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับคุณสมบัติของดินและหินเพื่อนำมาใช้ในการแก้ปัญหางานต่างๆทางด้านวิศวกรรม ขอบเขตงานที่ให้บริการได้แก่งานในด้านต่างๆ ดังนี้
- การเจาะเก็บตัวอย่างดินมาวิเคราะห์คุณสมบัติเพื่อนำมาใช้ในการคำนวณออกแบบฐานรากโครงสร้างอาคารและโครงสร้างงานโยธาต่างๆ
- การสำรวจแหล่งวัสดุดิน ทราย ลูกรัง หิน และวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ในงานก่อสร้างโยธาต่างๆ
- การปรับปรุงคุณสมบัติของดินโดยใช้ซีเมนต์ผง ซีเมนต์ผสมน้ำ ซีเมนต์ผสมทราย ฯลฯ
- การติดตั้งเครื่องมือวัดทางวิศวกรรมธรณี เพื่อตรวจวัดพฤติกรรมต่างๆ เกี่ยวกับวิศวกรรมปฐพี โดยใช้อุปกรณ์ Inclinometer, Piezometer, Extensometer, และ ฯลฯ
- การวิเคราะห์ความคงตัวของความลาดชัน การวิเคราะห์การทรุดตัว และ การวิเคราะห์ค่าการรับน้ำหนักของชั้นดิน
- การเจาะทดสอบชั้นดินสำหรับงานก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าแรงสูง และ แนวท่อส่งน้ำ
- การตรวจวิเคราะห์แหล่งเหมืองแร่
- การเจาะทดสอบชั้นหิน และ เจาะพื้นคอนกรีต
- การทดสอบดินในภาคสนาม
- การทดสอบในสนาม
- Standard Penetration Test, SPT
- Cone Penetration Test, CPT และ Piezocone Penetration Test, CPTu
- Field Vane Shear Test
- Kunzelstab
- Field Density Test Pressure meter Test
- DCPT (Dynamic Cone Penetrometer Test)
- Plate Bearing Test
- Field CBR test
- การทดสอบทางธรณีฟิสิกส์
- Soil Resistivity Test
- Thermal Conductivity Test
- Downhole Seismic Test
- การทดสอบเสาเข็มและฐานราก
- Pile Integrity Test
- Seismic Test
- Static load Test
- Dynamic load Test
- Sonic Logging Test
- การทดสอบความแข็งแรงของโครงสร้าง
- Compressive Strength Test
- Tensile Test
- NDT (Non-Destructive Testing)
- Turn Load Test
11. การทดสอบในห้องปฏิบัติการ
- Soil Classification
- Soil Compaction
- California Bearing Ratio (CBR)
- Permeability Test
- Consolidation Test
- Constant Rate of Strain (CRS)
- Unconfined Compression Test
- Direct Shear Test
- Triaxial Test (UU, CU, CD)